รู้จักกับภาคอีสาน | ภูมิปัญญาท้องถิ่น | อัตลักษณ์ท้องถิ่นอีสาน | ขนบธรรมเนียมประเพณี | ฮีตสิบสองคองสิบสี่
ประเพณีและความเชื่อของชาวอีสานนั้น นับว่ามีส่วนช่วยทำให้การดำรงชีวิตของสังคม มีความสงบร่มเย็น ความเชื่อในเรื่อง ภูตผี เทพาอารักษ์ ถูกกำหนดขึ้นด้วยจุดประสงค์แฝงเร้นให้เกิดการอนุรักษ์ทรัพยากรพื้นถิ่น สร้างแหล่งอาหาร พืชพันธุ์อันอุดมสมบูรณ์ และช่วยรักษาป่าไม้ให้กับชุมชน หลายๆ ประเพณีจึงมีขึ้นเพื่อเป็นการรวมใจของคนในชุมชน สร้างขวัญกำลังใจในการประกอบสัมมาอาชีพ ล้วนแล้วแต่เป็นภูมิปัญญาของท้องถิ่นอันทรงคุณค่า เมื่อท่านไปเยือนถิ่นอีสาน นอกจากจะได้ชื่นชมกับขนบธรรมเนียมประเพณี การแสดงออกทางด้านศิลปวัฒนธรรมอันสวยงาม สนุกสนานแล้ว สิ่งหนึ่งที่ขาดมิได้เลยคือ อาหารการกิน ที่มีรสแซบถูกปากเป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดี
รู้จักกับภาคอีสาน
- อีสาน : แหล่งประวัติศาสตร์และอารยธรรม
- ชาติพันธุ์ในอีสาน : ชนเผ่าในผืนดินถิ่นอีสาน
- ปฏิทินงานประเพณีบุญใหญ่ในภาคอีสาน
- แหล่งท่องเที่ยว 20 จังหวัดในภาคอีสาน
- บันทึกหลังการเดินทาง : เที่ยวไปทั่วแคว้นแดนอีสาน
- ภาพเก่าเล่าอดีตในดินแดนอีสาน ...
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
- ภูมิปัญญาอีสาน : มีอะไรที่เป็นภูมิปัญญาอันโดดเด่นน่าสนใจ
- เฮือนอีสาน : บ้าน หรือที่อยู่อาศัยที่สืบทอดภูมิปัญญามาจากบรรพบุรุษ
- พานบายศรี : เพิ่มพูนบารมี สวัสดีมีมงคล พบแต่โชคชัย
- ก่องข้าว และกระติ๊บข้าว ล้ำสมัยใหม่เสมอ ที่กระติบน้ำแข็งไม่อาจมาแทนที่ได้
- หวดนึ่งข้าวเหนียว : นวัตกรรมแห่งภูมิปัญญาชาวอีสาน
- ข้าวฮางงอก : ข้าวเพื่อสุขภาพภูมิปัญญาของชาวอีสาน
- ผงนัว : ความแซ่บอันเป็นภูมิปัญญาของชาวอีสาน รสอุมามิแบบไทยๆ
- ยาฮากไม้ : สมุนไพรพื้นบ้านอีสานที่มีมาแต่โบราณ ภูมิปัญญาที่อาจสูญหายไปได้ถ้าไม่มีผู้สืบสานต่อ
- ผ้ากาบบัวเมืองอุบลราชธานี : ผ้าลายประจำจังหวัดอุบลราชธานีมีมาแต่โบราณ
- เครื่องทองเหลืองบ้านปะอาว แหล่งผลิตเครื่องทองเหลือง OTOP อุบลราชธานี
- เครื่องใช้ประจำบ้านที่กำลังจะสาปสูญ : ไปตามยุคสมัยและกาลเวลา
- สะนูว่าว : เสียงสวรรค์ยามลมหนาวมาเยือน ที่บอกการสิ้นสุดฤดูกาลเก็บเกี่ยวชาวอีสาน
- วิญญาณ ๕ ของชาวอีสาน : ข้าวเหนียว ลาบ ส้มตำ หมอลำ และปลาแดก
- บทพิสูจน์พื้นฐานว่าคุณคือ.. ฅนบ้านนอก ไม่บอกก็ไม่รู้นะเนี่ย!
อัตลักษณ์ท้องถิ่นอีสาน
- อัตลักษณ์ท้องถิ่นอีสาน ความเป็นหนึ่งเดียวของอีสานที่ไม่ว่าจะไปปรากฏ ณ ที่แห่งใด ก็สามารถบอกได้ว่านี่แหละอีสาน
- พระธาตุและธาตุ ที่เก็บพระบรมสารีริกธาตุสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า กระดูกเจ้านายชั้นสูง และชาวบ้านธรรมดา
- "สิม" หรือ "โบสถ์" หรือ "อุโบสถ" สถาปัตยกรรมอันเป็นอัตลักษณ์อีสาน
- หอไตรอีสาน ที่เก็บรักษาพระไตรปิฎก คำสอนสำคัญในพุทธศาสนา
- หอแจก ศาลาโรงธรรม หรือธรรมศาลา ศาสนาคารที่เป็นศูนย์รวมของชุมชน
- ศาสนาคาร ความโดดเด่นของสถาปัตยกรรมเพื่อรับใช้พุทธศาสนา และความเชื่อของฅนอีสาน
- บรรจุภัณฑ์แห่งความตาย มีคำกล่าวที่ว่า "ยิ่งใหญ่คับฟ้ามาจากไหนก็เล็กกว่าโลง (โลงศพ)"
- เหรา (หรือ "น้อนน" ภาษาในสื่อโซเชียล) ศิลปะแบบพื้นบ้านที่สร้างตามความเชื่อและแรงศรัทธาอย่างแท้จริง
ขนบธรรมเนียมประเพณี
- วัฒนธรรมร่วมแห่งอุษาคเนย์ ความเชื่อมโยงของภาษา วัฒนธรรม อาหารการกินและความเป็นอยู่
- เรื่องเสียวสวาทหรืออีโรติก ในวัฒนธรรมอีสานที่มีมาเนิ่นนาน
- โบราณอีสาน : มรดกวัฒนธรรม ความเชื่อที่ยังคงมีการสานต่ออยู่ไม่ขาดสาย
- ฤกษ์งามยามดี : เรื่องของวัน-เวลาที่ควรกระทำการใดเพื่อเป็นสิริมงคล
- การปลูกเฮือน : พิธีกรรมที่เกี่ยวข้อง การทำบุญขึ้นบ้านใหม่
- การเพาะปลูกพืชผล : เรื่องของตาแฮก เกี่ยวข้าว นวดข้าวและทำบุญลาน
- การเลือกคู่ครอง ดวงสมพงษ์ บ่าว - สาว หนุ่มสาวที่อยากมีคู่ควรศึกษาไว้
- การตั้งชื่อ ให้ดีเหมาะสมกับดวงชะตา
- การตั้งชื่อลูกหลาน ของคนอีสานโบราณ
- การเสียเคราะห์ เสียเข็ญ ต่ออายุ
- การมีครอบครัว ครองรักครองเรือน
- แซนการ์ : ประเพณีแต่งงานโบราณอีสานใต้
- ซัตเต : การแต่งงานตามแบบประเพณีของชาวกูย
- การสูตรขวน (การบายศรีสู่ขวัญ)
- เพลงกล่อมลูก : มรดกอีสานบ้านเฮา
- โสก (โฉลก) : คำประพันธ์ที่นักปราชญ์โบรานอีสานแต่งไว้
- คะลำ ขะลำ : จารีตประเพณี (สิ่งที่ไม่ควรทำเป็นอัปมงคล)
- คู่มือการดับทุกข์ การทำสมาธิเพิ่มพลังจิต
- ศาสนพิธี : การทำพิธีกรรมที่เกี่ยวข้องกับศาสนาและพระสงฆ์
- นกหัสดีลิงค์ พิธีการปลงศพของเจ้านายชั้นสูงและพระเถระผู้ใหญ่ในอีสานที่น่าสนใจและหาดูได้ยาก
- จารีตประเพณีที่ชาวอีสานปฏิบัติกันสืบต่อมา
- งานบุญเข้ากรรม หรือ เข้าปริวาสกรรม (บุญเดือนอ้าย หรือเดือนเจียง่)
- งานประเพณีบุญคูณลาน (กุ้มเข้าใหญ่) (บุญเดือนยี่)
- งานประเพณีแห่มาลัยข้าวตอก (บุญเดือนสาม) บ้านฟ้าหยาด อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร
- บุญผะเหวด หรือ บุญพระเวส (สันดร) งานบุญเทศน์มหาชาคิ
- "กองฮด" พิธีการในการยกย่องพระสงฆ์ของชาวอีสาน เป็นเจ้าคู ญาซา สึกมาเป็นทิด เป็นเชียง
- "บั้งไฟ" : ประเพณีขอฝนของฅนอีสาน
- แห่นางแมว - เทศน์คันคาก : ประเพณีขอฝนแบบอื่นๆ ของชาวอีสาน
- ประเพณีแห่เทียนพรรษา อุบลราชธานี
- ประเพณีบุญหลวง "แห่ผีตาโขน" อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย
- ฮีตเดือนเก้า บุญข้าวประดับดิน
- ฮีตเดือนสิบ บุญข้าวสาก
- ประเพณีวันสารทของชาวสุรินทร์ (บุญเดือนสิบ)
- ประเพณีแห่ปราสาทผึ้ง สกลนคร
- ประเพณีไหลเฮือไฟ นครพนม
- ประเพณีแห่ไฟตูมกา ของชาวบ้านบ้านทุ่งแต้ จังหวัดยโสธร
- ตำนานบุญ "กฐิน" ความเป็นมาของกฐิน ประเภทและชนิดของกฐิน
- ลงแขก - ตกพูด - ปันพูด - แบ่งพูด วัฒนธรรมเพื่อการช่วยเหลือและแบ่งปันของชาวอีสาน
- ดอนปู่ตา และผีตาแฮก : ผีบรรพบุรุษที่อำนวยโชคในการทำนา
- ประเพณีผูกเสี่ยว การเชื่อมสัมพันธ์แห่งมิตรสหาย เพื่อนตายชั่วนิรันดร์
- พิธีกรรมประจำชีวิต : ชีวิตคนเราตั้งแต่วันเกิดจนถึงตาย
- รวมภาพกิจกรรมประเพณีแห่เทียนพรรษาอุบลราชธานี
- อาหารการกิน หมู่เฮาชาวอีสาน
- ปลาแดก : กับความมั่นคงในชีวิตของชาวอีสาน
- ปลาร้าหรือปลาแดก : สุดยอดเครื่องปรุงรสของชาวอีสาน
- การทำอาหารจากปลาร้า : อีสาน รสเด็ดน่าลองนะครับ
- ผงนัว : ความแซ่บอันเป็นภูมิปัญญาของชาวอีสาน รสอุมามิแท้ๆ แบบบ้านๆ
- อาหารประเภท ก้อย, ลาบ/ซกเล็ก, แกง, แจ่ว
- อาหารประเภท ซุบ, เนี่ยน, ต้ม, ตำ, ป่น
- อาหารประเภท ปิ้ง, ย่าง, เผา, ลาบ, ส่า
- อาหารประเภท หลาม, หมก, อ่อม, อ๋อ/อู๋
- แจ่วฮ้อน (จุ่มจิ้ม หรือสุกี้อีสาน) และเสือร้องไห้ ทำไมเสือจึงต้องร้องไห้
- ผักพื้นบ้านอีสาน : สุดยอดสมุนไพรในครัวเรือน รู้กันหรือยัง?
- อาหารพื้นเมืองอร่อยที่หาดศรีภิรมย์ อุบลราชธานี เด็ดๆ ไม่แพ้ที่หาดคูเดื่อ
- ไปไหว้พระธาตุพนม แวะชมแก่งกะเบา แล้วชิมหมูหันกันหน่อย อร่อยเด็ดพร้อมอาหารปลาแม่น้ำโขง
- แกงขี้เหล็ก และ หนังควายตากแห้ง อาหารที่นับวันจะสูญหายไป
- ลาบเทา และ แกงไข่ผำ สาหร่ายไทยๆ ที่อร่อยเด็ดไม่แพ้สาหร่ายญี่ปุ่น
- หม่ำ ไส้กรอก(ตับ)อีสาน แสนอร่อย
- เค็มบักนัด (เค็มสับปะรด) : การถนอมอาหารภูมิปัญญาในอดีต เป็นอาหารพื้นเมืองอุบลราชธานีที่ขึ้นชื่อแซบหลาย
- ลาบหมาน้อย : โอยอย่าสิฟ้าวมาว่า ฅนอีสานกินหมาได๋ มันบ่แม่นเด้อ คันบ่เซื่อกะไปอ่านเบิ่งเลย
- ฮวก หรือ ลูกอ๊อด ของกบ อาหารแซบๆ ของฅนอีสานที่หากินได้เฉพาะฤดูกาล
คติความเชื่อของฅนอีสานโบราณ
- วัฒนธรรมเกี่ยวกับการบริโภคชาวอีสาน เพื่อตอบคำถามที่ว่า "ทำไมฅนอีสานจึงนิยมชมชอบบริโภคอาหารสุกๆ ดิบๆ ไม่ว่าจะเป็นลาบ ก้อยเนื้อสัตว์"
- ผีปอบ ผีแม่ม่าย ความเชื่อในความกลัวในจิตวิญญาณ ที่มีมาเนิ่นนานแต่ก็ยังไร้ข้อพิสูจน์ใน พ.ศ. นี้
ระบบการปกครองและฮีตสิบสองคองสิบสี่
- ระบบการปกครองของชาวอีสาน ในสมัยโบราณ การเรียกชื่อตำแหน่งหน้าที่
- ฮีตสิบสอง : จารีตประเพณี 12 เดือน ที่ต้องปฏิบัติเพื่อเสริมสร้างความสามัคคีในชุมชน
- คองสิบสี่ : ครรลอง 14 ประการ ในการปกครองและอยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุขของสังคม
รู้จักกับภาคอีสาน | ภูมิปัญญาท้องถิ่น | อัตลักษณ์ท้องถิ่นอีสาน | ขนบธรรมเนียมประเพณี | ฮีตสิบสองคองสิบสี่